Recording Diary 13
Friday 9 November 2018
Time 08:30 - 12:30 o'clock
👶The knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)
วันนี้อาจารย์ได้เปิดวีดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เรื่องความลับของเเสง ให้นักศึกษาดู เพื่อเป็นเเนวทางในการนำไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย เรื่อง เเสง
👐โดยมีเรื่องดังต่อไปนี้👐
1. คุณสมบัติของเเสง
2. วัตถุที่เเสงกระทบ
3. กล้องรูเข็ม
4. การหักเหของเเสง
5. การสะท้อนของเเสง
6. การเกิดเงา
7. การเกิดรุ้งกินน้ำ
😎 คุณสมบัติของเเสง
💣เเสง คือ คลื่นพลังงานรูปหนึ่ง เเหล่งกำเนิดเเสงเเบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. เเหล่งกำเนิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น เเสงจากดวงอาทิตย์ที่เป็นเเหล่งพลังงานของสิ่งมีชีวิต เเละ 2. เเหล่งกำเนิดเเสงที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เเสงจากหลอดไฟ
💨การเดินทางของเเสง เเสง เดินทางเป็นเส้นตรงไม่มีการเปลี่ยนทิศ
👀วัตถุที่เเสงส่องผ่าน
1. วัตถุโปร่งใส คือ วัตถุที่ยอมให้เเสงส่องผ่านได้โดยงาย
2. วัตถุโปร่งเเสง คือ วัตถุที่ยอมให้เเสงผ่านไปได้เพียงบางส่วน
3. วัตถุทึบเเสง คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้เเสงผ่านไปได้เลย
👷การนำไปใช้ประโยชน์ของเเสง
1. ประโยชน์ทางตรง เช่น การทำอาหารตากเเห้ง การตากผ้า การฆ่าเชื้อโรคในน้ำดื่ม การทำนาเกลือ
2. ประโยชน์ทางอ้อม เช่น ทำให้เกิดวัฏจักรของน้ำ (การเกิดฝน)
😏 กล้องรูเข้ม
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บันทึกภาพโดยการปล่อยให้เเสงจากวัตถุฉายเเสง ผ่านรูขนาดเล็กให้ตกลงบนเเผ่นฟิล์มไวแสง โดยภาพที่ปรากฏบนเเผ่นฟิล์มไวเเสง จะได้ภาพกลับหัวของวัตถุจริง
😜 การสะท้อนของเเสง
การสะท้อนของเเสง เป็นปรากฏการณ์ที่เเสงตกกระทบกับตัวกลาง เเล้วสะท้อนกับสู่ตัวกลางเดิม ซึ่งปริมาณเเละทิศทางของการสะท้อนของเเสง ขึ้นอยู่กับพื้นผิวของตัวกลางที่ตกกระทบ
😊 กล้องคาไลโดสโคป
เเสงจะผ่านวัตถุที่ใส่ไว้ เเละสะท้อนกระจกเงาด้านในกลับไปกลับมาหลาย ๆ ครั้ง เเละเกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยลวดลายจะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ เมื่อเขย่าดูที่กล้อง
😎 กล้องเพอริสโคป
เกิดจากการสะท้อนเเสง เมื่อเเสงตกกระทบวัตถุ เเสงจะสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา โดยเเสงตกกระทบที่กระจก ซึ่งติดตั้งให้เอียงทำมุม 45 องศา เเล้ว จะสะท้อนทำมุม 90 องศา ไปตกกระทบกับกระจกอีกบานหนึ่งที่เอียงทำมุม 45 องศา ในระดับสายตา เเละสะท้อนเข้าตาทำให้เรามองเห็นภาพวัตถุที่เหนือกว่าระดับสายตาได้ โดยมีทิศทางเดียวกับภาพจริง
💨การเดินทางของเเสง เเสง เดินทางเป็นเส้นตรงไม่มีการเปลี่ยนทิศ
การเดินทางของเเสง |
👀วัตถุที่เเสงส่องผ่าน
1. วัตถุโปร่งใส คือ วัตถุที่ยอมให้เเสงส่องผ่านได้โดยงาย
2. วัตถุโปร่งเเสง คือ วัตถุที่ยอมให้เเสงผ่านไปได้เพียงบางส่วน
3. วัตถุทึบเเสง คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้เเสงผ่านไปได้เลย
👷การนำไปใช้ประโยชน์ของเเสง
1. ประโยชน์ทางตรง เช่น การทำอาหารตากเเห้ง การตากผ้า การฆ่าเชื้อโรคในน้ำดื่ม การทำนาเกลือ
2. ประโยชน์ทางอ้อม เช่น ทำให้เกิดวัฏจักรของน้ำ (การเกิดฝน)
😏 กล้องรูเข้ม
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บันทึกภาพโดยการปล่อยให้เเสงจากวัตถุฉายเเสง ผ่านรูขนาดเล็กให้ตกลงบนเเผ่นฟิล์มไวแสง โดยภาพที่ปรากฏบนเเผ่นฟิล์มไวเเสง จะได้ภาพกลับหัวของวัตถุจริง
ภาพกล้องรูเข็ม
😜 การสะท้อนของเเสง
การสะท้อนของเเสง เป็นปรากฏการณ์ที่เเสงตกกระทบกับตัวกลาง เเล้วสะท้อนกับสู่ตัวกลางเดิม ซึ่งปริมาณเเละทิศทางของการสะท้อนของเเสง ขึ้นอยู่กับพื้นผิวของตัวกลางที่ตกกระทบ
การสะท้อนของเเสง |
😊 กล้องคาไลโดสโคป
เเสงจะผ่านวัตถุที่ใส่ไว้ เเละสะท้อนกระจกเงาด้านในกลับไปกลับมาหลาย ๆ ครั้ง เเละเกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยลวดลายจะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ เมื่อเขย่าดูที่กล้อง
ภาพที่ปรากฏในกล้องคาไลโดสโคป |
😎 กล้องเพอริสโคป
เกิดจากการสะท้อนเเสง เมื่อเเสงตกกระทบวัตถุ เเสงจะสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา โดยเเสงตกกระทบที่กระจก ซึ่งติดตั้งให้เอียงทำมุม 45 องศา เเล้ว จะสะท้อนทำมุม 90 องศา ไปตกกระทบกับกระจกอีกบานหนึ่งที่เอียงทำมุม 45 องศา ในระดับสายตา เเละสะท้อนเข้าตาทำให้เรามองเห็นภาพวัตถุที่เหนือกว่าระดับสายตาได้ โดยมีทิศทางเดียวกับภาพจริง
ภาพกล้องเพอริสโคป เช่นกล้องเรือดำน้ำ |
😎 การหักเกของเเสง
การจากการที่เเสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่มีความหนาเเน่นต่างกัน เป็นผลทำให้ทิศทางของเเสงเปลี่ยนไป ซึ่งในขณะที่เเสงเกิดการหักเหก็จะเกิดการสะท้อนของเเสงขึ้นพร้อม ๆ กันด้วย นอกจากนี้การหักเหของเเสงทำให้เห็นภาพชัดเจนเเละเกิดรุ้งกินน้ำ
ภาพการหักเหของเเสง |
😏 รุ้งกินน้ำ
อากาศ ทำให้เเสงสีต่าง ๆ เกิดการหักเหขึ้น จึงเห็นเป็นเเถบสีต่าง ๆ ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้า รุ้งกินน้ำ จะประกอบไปด้วย 7 สี คือ สีม่วง สีคราม สีน้ำเงิน สีเขียว สีเหลือง สีเเสด สีเเดง เเละเเสงที่เกิดเป็นรุ้งกินน้ำนั้น คือ สีขาว เเละเกิดจากการหักเหจนเกิดเป็นเเถบสี 7 เเถบ โดยสีม่วงจะมีการหักเหมากที่สุด ส่วนสีเเดงมีการหักเหน้อยที่สุด
ภาพรุ้งกินน้ำ |
สีของรุ้งกินน้ำ |
*เป็นปรากฏการทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นหลังจากฝนตก โดยเกิดขึ้นจากเเสงเเดดส่องผ่านละอองน้ำ
เงา เป็นสิ่งตรงกันข้ามกับเเสง การเกิดเงา ทันทีที่เราส่องเเสงไปยังวัตถุจะเกิดเงา เพราะเงาของวัตถุเกิดจากเเสงเดินทางไปเป็นเส้นตรง เมื่อมีวัตถุขวางทำให้เกิดเงา
ภาพการเกิดเงา |
💋Skills (ทักษะ)
การฟังเเละการนำความรูที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
😈Apply (การนำมาประยุกต์ใช้)
การนำความรู้ที่ได้ในเรื่อง เเสง ไปใช้ในการเขียนแผนการประสบการณ์เเละได้นำไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้อีกด้วย
👀Technique (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
อาจารย์มีเทคนิคในการเข้าสู่บทเรียนโดยการนำวีดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มาให้นักศึกษาดู ทำให้นักศึกษาเกิดความตื่นเต้นเเละความอยากรู้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนต่อไปนี้
👮Assessment (การประเมิน)
👉 Our self (ตัวเอง) : เข้าเรียนตรงเวลา เเละตั้งใจฟังเเละจดตามที่อาจารย์อธิบายเเนะนำเพิ่มเติม
👉 Friends (เพื่อน) : เพื่อน ๆ ทุกคน ตั้งใจเรียนดี ไม่คุยรบกวนผู้อื่นในขณะรับชมวีดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่อาจารย์นำมาสอน
👉 Teacher (อาจารย์) : อาจารย์มีสื่อการสอนที่หลากหลาย เเละมีการสรุปหลังการเรียนทุกครั้ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น