Recording Diary 12
Friday 2 November 2018
Time 08:30 - 12:30 o'clock
👶The knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)
วันนี้อาจารย์ตรวจวีดีโอของเเต่ละกลุ่มที่ทำการทดลองวิทยาศาสตร์ เเละได้ให้คำเเนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อผิดพลาดของเเต่ละกลุ่มในการนำเสนอการทดลอง การดำเนินการทดลองตั้งเเต่เเรกจนจบการการทดลองของเเต่ละกลุ่ม เพื่อให้เกิดความพร้อมเเละไม่มีข้อผิดพลาดในการนำไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย
👉ฐานที่ 1 ติด ดับ จับ ต่อ
ข้อควรปรับปรุง
1. การเเนะนำตัวก่อนการทำทดลองวิทยาศาสตร์
2. หลีกเลี่ยงการพูดคำเชื่อม เช่น อ้า..
👉ฐานที่ 2 ปริศนา ซี โอ ทู
ข้อควรปรับปรุง
1. การเเนะนำตัวก่อนการทำทดลองวิทยาศาสตร์
2. ต้องอ่านจากซ้ายไปขวา
3. ต้องปรับปรุงการเขียนตัวหนังสือให้ตัวเท่า ๆ กัน
4. ต้องมีไม้ชี้ตามขั้นตอน ในการทำการทดลอง
5. ต้องเตรียมผ้าไว้เช็ดอุปกรณ์
6. การพูดควบกล้ำ ร, ล
👉ฐานที่ 3 น้ำนิ่งไหลลึก
ข้อควรปรับปรุง
1. การเเนะนำตัวก่อนการทำทดลองวิทยาศาสตร์
2. ควรมีผ้าสำหรับเช็ดมือหลังจากจับวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
👉ฐานที่ 4 ความลับสีดำ
ข้อควรปรับปรุง
1. การเเนะนำตัวก่อนการทำทดลองวิทยาศาสตร์
2. ควรอธิบายขั้นตอนในการทำการทดลอง
3. ควรปรับปรุงป้ายนำเสนอการทดลอง
💥 โครงการสนุกคิดกับวิทยาศาสตร์ 💥
💖ฐานที่ 1 ติด ดับ จับ ต่อ
👉ข้อความรู้ : ทำไมเราสามารถจับสายไฟของเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ โดยไม่ถูกไฟดูด เพราะสายไฟถูกห่อหุ้มด้วยวัสดุที่เป็น ฉนวน ซึ่งไฟฟ้าไหลผ่านไม่ได้ กระเเสไฟฟ้าจะไหลผ่านเฉพาะลวดโลหะ ทีอยู่ภายในซึ่งเราไม่ได้สัมผัส
👉ประเด็นปัญหา : กระเเสไฟฟ้าไหลผ่านวัสดุอะไรได้บ้าง
👉สมมติฐาน : ครูนำวัสดุเเต่ละอย่างมาเชื่อมต่อในวงจรไฟฟ้า เด็ก ๆ คิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น
👉วัตถุประสงค์ :
1. เด็ก ๆ รู้ว่าเเหล่งกำเนิดไฟฟ้าคืออะไร
2. เด็กสามารถเเยกวัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าเเละไม่นำไฟฟ้าได้
👉สื่อเเละวัสดุอุปกรณ์ :
1. หลอดไฟฟ้า 6 V. 0.6 W.
2. ถ่านไฟฉาย 4.5 V.
3. สายไฟชนิดตัวหนีบปากจระเข้
4. ตระกร้าใหญ่ 2 ใบ ตระกร้าเล็ก 4 ใบ
5. ป้ายกระดาษ
6. วัสดุที่นำมาทดลอง เช่น ปากกา กรรไกร เเก้วพลาสติก ไม้ตะเกียบ ดินสอ ลูกโป่ง กระดาษ
👉ขั้นตอนการทดลอง :
1. นำวัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าเเละไม่นำไฟฟ้าใส่รวมตะกร้าใหญ่เพื่อให้เด็ก ๆ หยิบมาทำการทดลอง
2. นำสายไฟ้ปากหนีบจระเข้ทั้ง 3 สาย มาต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า เเล้วตรวจสอบดูว่าหลอดไฟสว่างหรือไม่
3. เเบ่งกลุ่มเด็กออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ให้เ็ดกเเต่ละคนหยิบวัสดุมาต่อเข้ากับสายไฟชนิดปากหนีบจระเข้คนละ 1 ชนิด เเล้วสังเกตดูว่าหลอดไฟติดสว่างหรือไม่
4. ถ้าหลอดไฟติด วัสดุชนิดนั้นจะเป็นตัวนำไฟฟ้า เเต่ถ้าไม่ติดวัสดุชนิดนั้นจะไม่เป็นตัวนำไฟฟ้า เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า
5. หลังจากทดลองเสร็จให้เด็ก ๆ เเยกวัสดุที่นำไฟฟ้าเเละไม่นำไฟฟ้าใส่ในตะกร้าใบเล็ก
👉วิธีการประเมิน :
1. สังเกตว่าเด็ก ๆ สามารถเเยกวัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้า เเละไม่นำไฟฟ้าถูกต้องหรือไม่
2. การถาม - ตอบ การตั้งคำถามปลายเปิดให้เด็กตอบคำถาม เช่น ไฟฟ้าไหลผ่านอะไรได้บ้าง
3. หยิบวัสดุที่เป็นสื่อเเบบเเกะออกได้ มาให้เด็ก ๆ ติดในสื่อที่เตรียมไว้ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของเด็ก ๆ อีกครั้ง
👉สรุป :ไฟจากเเหล่งกำเนิดไฟฟ้าไหลผ่านครบวงจร จึงทำให้ไฟติดเเละเป็นตัวนำไฟฟ้า ส่วนวัสดุที่ไม่เป็นตัวนำไฟฟ้า เรียกว่า ฉนวน สามารถป้องกันไฟฟ้ารั่วได้
👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉
💖ฐานที่ 2 ปริศนา ซี โอ ทู
👉ข้อความรู้ : สิ่งของที่วางอยู่บนโต๊ะถ้าเอาน้ำมะนาวผสมเบกกิงโซดา น้ำตาลทราย ผงฟู และเกลือมันจะเกิดปฏิกิริยาอะไรบ้าง
👉ประเด็นปัญหา : สิ่งของเหล่านี้เด็กๆคิดว่าสามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง?
👉สมมติฐาน : ถ้าเทน้ำมะนาวลงไปในแก้วทั้ง 4 ใบจะเกิดอะไรขึ้น?
👉วัตถุประสงค์ :
1. ครูให้เด็กตักเบกกิงโซดา น้ำตาลทราย ผงฟู และเกลือแต่ละชนิด ครั้งละ 2 ช้อนใส่ในแก้วพลาสติกใบที่ 1 ,2,3,4 ตามลำดับ
2. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่ 1 ที่มี เบกกิงโซดา และสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้างจากนั้นให้เด็กบันทึก
3. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่ 2 ที่มีน้ำตาลทรายและสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
4. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่3ที่มีผงฟู และสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
5. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่4ที่มีเกลือและสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
👉วิธีการประเมิน :
💖ฐานที่ 3 น้ำนิ่งไหลลึก
👉ข้อความรู้ : น้ำเป็นของเหลวชนิดหนึ่งที่มีอยู่มากที่สุดบนผิวโลก เป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำลงชีวิตทุกชนิดที่มนุษย์รู้จัก เราสามารถพบน้ำได้จากหลายๆสถานที่เช่น ทะเล แม่น้ำ หนอง คลอง บึง อีกทั้งน้ำในหลายๆรูปแบบ เช่น น้ำแข็ง หิมะ ฝน และไอน้ำ
👉ประเด็นปัญหา : น้ำมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง?
👉สมมติฐาน :
1. ถ้าใส่น้ำในแก้วจะเกิดอะไรขึ้น?
💖ฐานที่ 4 ความลับสีดำ
👉ข้อความรู้ : สีดำเกิดจากการรวมกันของสีมากกว่า 2 สี และไม่จำเป็นต้องเป็นสีกลุ่มสีเดิมที่จะทำให้เกิดสีดำ และ การดูดซึมน้ำแล้วแพร่ออก ทำให้สีดำของปากกาเมจิบนกระดาษถูกแยกเป็นสีต่างๆ คือ การนำพาสี เรียกว่า โครมาโทกราฟี
👉ประเด็นปัญหา : เพราะอะไรสีดำถึงสามารถละลายน้ำแล้วเกิดเป็นสีต่าง ๆ ขึ้น
👉สมมติฐาน : ถ้าใช้ปากกาเมจิสีดำ แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงจะเกิดอะไรขึ้น
👉สื่อเเละวัสดุอุปกรณ์ :
👉ข้อความรู้ : ทำไมเราสามารถจับสายไฟของเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ โดยไม่ถูกไฟดูด เพราะสายไฟถูกห่อหุ้มด้วยวัสดุที่เป็น ฉนวน ซึ่งไฟฟ้าไหลผ่านไม่ได้ กระเเสไฟฟ้าจะไหลผ่านเฉพาะลวดโลหะ ทีอยู่ภายในซึ่งเราไม่ได้สัมผัส
👉ประเด็นปัญหา : กระเเสไฟฟ้าไหลผ่านวัสดุอะไรได้บ้าง
👉สมมติฐาน : ครูนำวัสดุเเต่ละอย่างมาเชื่อมต่อในวงจรไฟฟ้า เด็ก ๆ คิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น
👉วัตถุประสงค์ :
1. เด็ก ๆ รู้ว่าเเหล่งกำเนิดไฟฟ้าคืออะไร
2. เด็กสามารถเเยกวัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าเเละไม่นำไฟฟ้าได้
👉สื่อเเละวัสดุอุปกรณ์ :
1. หลอดไฟฟ้า 6 V. 0.6 W.
2. ถ่านไฟฉาย 4.5 V.
3. สายไฟชนิดตัวหนีบปากจระเข้
4. ตระกร้าใหญ่ 2 ใบ ตระกร้าเล็ก 4 ใบ
5. ป้ายกระดาษ
6. วัสดุที่นำมาทดลอง เช่น ปากกา กรรไกร เเก้วพลาสติก ไม้ตะเกียบ ดินสอ ลูกโป่ง กระดาษ
👉ขั้นตอนการทดลอง :
1. นำวัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าเเละไม่นำไฟฟ้าใส่รวมตะกร้าใหญ่เพื่อให้เด็ก ๆ หยิบมาทำการทดลอง
2. นำสายไฟ้ปากหนีบจระเข้ทั้ง 3 สาย มาต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า เเล้วตรวจสอบดูว่าหลอดไฟสว่างหรือไม่
3. เเบ่งกลุ่มเด็กออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ให้เ็ดกเเต่ละคนหยิบวัสดุมาต่อเข้ากับสายไฟชนิดปากหนีบจระเข้คนละ 1 ชนิด เเล้วสังเกตดูว่าหลอดไฟติดสว่างหรือไม่
4. ถ้าหลอดไฟติด วัสดุชนิดนั้นจะเป็นตัวนำไฟฟ้า เเต่ถ้าไม่ติดวัสดุชนิดนั้นจะไม่เป็นตัวนำไฟฟ้า เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า
5. หลังจากทดลองเสร็จให้เด็ก ๆ เเยกวัสดุที่นำไฟฟ้าเเละไม่นำไฟฟ้าใส่ในตะกร้าใบเล็ก
👉วิธีการประเมิน :
1. สังเกตว่าเด็ก ๆ สามารถเเยกวัสดุที่เป็นตัวนำไฟฟ้า เเละไม่นำไฟฟ้าถูกต้องหรือไม่
2. การถาม - ตอบ การตั้งคำถามปลายเปิดให้เด็กตอบคำถาม เช่น ไฟฟ้าไหลผ่านอะไรได้บ้าง
3. หยิบวัสดุที่เป็นสื่อเเบบเเกะออกได้ มาให้เด็ก ๆ ติดในสื่อที่เตรียมไว้ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของเด็ก ๆ อีกครั้ง
👉สรุป :ไฟจากเเหล่งกำเนิดไฟฟ้าไหลผ่านครบวงจร จึงทำให้ไฟติดเเละเป็นตัวนำไฟฟ้า ส่วนวัสดุที่ไม่เป็นตัวนำไฟฟ้า เรียกว่า ฉนวน สามารถป้องกันไฟฟ้ารั่วได้
👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉
💖ฐานที่ 2 ปริศนา ซี โอ ทู
👉ข้อความรู้ : สิ่งของที่วางอยู่บนโต๊ะถ้าเอาน้ำมะนาวผสมเบกกิงโซดา น้ำตาลทราย ผงฟู และเกลือมันจะเกิดปฏิกิริยาอะไรบ้าง
👉ประเด็นปัญหา : สิ่งของเหล่านี้เด็กๆคิดว่าสามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง?
👉วัตถุประสงค์ :
1. เด็กบอกได้ว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดจากอะไร
2. เด็กบอกได้ว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีประโยชน์และโทษอย่างไร
👉สื่อเเละวัสดุอุปกรณ์ :
1. เบกกิงโซดา
2. น้ำตาลทราย
3. ผงฟู
4. เกลือ
5. น้ำมะนาว
6. แก้วน้ำพลาสติก
7. ช้อน
8. น้ำอัดลม
9. เนื้อหมู
👉ขั้นตอนการทดลอง : 1. ครูให้เด็กตักเบกกิงโซดา น้ำตาลทราย ผงฟู และเกลือแต่ละชนิด ครั้งละ 2 ช้อนใส่ในแก้วพลาสติกใบที่ 1 ,2,3,4 ตามลำดับ
2. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่ 1 ที่มี เบกกิงโซดา และสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้างจากนั้นให้เด็กบันทึก
3. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่ 2 ที่มีน้ำตาลทรายและสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
4. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่3ที่มีผงฟู และสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
5. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่4ที่มีเกลือและสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
👉วิธีการประเมิน :
1. สังเกตจากพฤติกรรมขณะร่วมปฏิบัติการทดลอง
2. การสนทนาซักถามเกี่ยวกับปฏิกิริยาของน้ำมะนาวและสารทั้ง
4 ชนิด
👉สรุป : จะเห็นได้ว่าก๊าซที่อยู่ในน้ำอัดลมมันกัดกร่อนเหรียญ
แล้วถ้ามันอยู่ในท้องเวลากินเข้าไปจะเป็นอย่างไร เพราะฉะนั้นเด็ก ๆควรหลีกเลี่ยง
👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉
💖ฐานที่ 3 น้ำนิ่งไหลลึก
👉ข้อความรู้ : น้ำเป็นของเหลวชนิดหนึ่งที่มีอยู่มากที่สุดบนผิวโลก เป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำลงชีวิตทุกชนิดที่มนุษย์รู้จัก เราสามารถพบน้ำได้จากหลายๆสถานที่เช่น ทะเล แม่น้ำ หนอง คลอง บึง อีกทั้งน้ำในหลายๆรูปแบบ เช่น น้ำแข็ง หิมะ ฝน และไอน้ำ
👉ประเด็นปัญหา : น้ำมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง?
👉สมมติฐาน :
1. ถ้าใส่น้ำในแก้วจะเกิดอะไรขึ้น?
2. ถ้าใส่น้ำในภาชนะต่างกันจะเกิดอะไรขึ้น?
3. ถ้าวางวัตถุบนผิวน้ำจะเกิดอะไรขึ้น?
4. ถ้าหยดน้ำยาล้างจานลงบนผิวน้ำจะเกิดอะไรขึ้น?
5. ถ้านำผักผลไม้มาบีบจะเกิดอะไรขึ้น?
👉วัตถุประสงค์ :
1. อธิบายคุณสมบัติของน้ำได้
2. เด็กบอกได้ว่าน้ำเป็นส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต
3. เด็กได้ลงมือทดลองร่วมกับครู
และมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนๆ
4. เด็กได้รับความสนุกสนานจากการทดลอง
5. เด็กมีการสังเกต
และคิดในสิ่งที่พบเห็น
6. เด็กได้ความรู้และสัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน
7. เด็กได้คิดวิเคราะห์ในการทำการทดลอง
👉สื่อเเละวัสดุอุปกรณ์ :
1. น้ำ
2. แก้วรูปทรงต่างๆ
3. สีผสมอาหาร
4. คลิปหนีบกระดาษ
5. น้ำยาล้างจาน
6. ผลไม้ และผัก
👉ขั้นตอนการทดลอง :
1. เด็กๆรู้จักอะไรบนโต๊ะบ้าง
เด็กๆรู้ไหมว่าแต่ละอย่างสามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง
2.เทน้ำจากแก้วใบแรกใส่แก้วใบที่สองสลับกันไปมา
3. เทน้ำใส่ภาชนะที่มีรูปร่างต่างกัน
น้ำจะเปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะ
4. เทน้ำให้เต็มแก้ว แล้วนำคลิปหนีบกระดาษมาวางบนผิวน้ำ
5.จากนั้นหยดน้ำยาล้างจานบนผิวน้ำ
แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลง
6. หลังจากนั้นนำผักผลไม้มาบีบ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง
👉วิธีการประเมิน :
1. สังเกตจากพฤติกรรมจากการเข้าร่วมกิจกรรม เช่น
การมีส่วนร่วมช่วยเหลือคุณครู
2. การสนทนาโดยการซักถาม เช่น น้ำมีคุณสมบัติอย่างไร เด็กตอบได้ว่าเป็นของเหลว
3. การบันทึกก่อนและหลังทำกิจกรรม
👉สรุป :
1. เทน้ำจากแก้วใบแรกใส่แก้วใบที่สองสลับกันไปมาที่น้ำไหลเป็นเพราะว่าน้ำมีคุณสมบัติเป็นของเหลว
2. น้ำเปลี่ยนรูปร่างเพราะภาชนะ
3. วางวัตถุบนผิวน้ำแล้วไม่จม
เป็นเพราะน้ำมีแรงตึงผิว
4. เมื่อบีบผัก และผลไม้แล้วมีน้ำออกมา
เพราะน้ำเป็นส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต
👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉
💖ฐานที่ 4 ความลับสีดำ
👉ข้อความรู้ : สีดำเกิดจากการรวมกันของสีมากกว่า 2 สี และไม่จำเป็นต้องเป็นสีกลุ่มสีเดิมที่จะทำให้เกิดสีดำ และ การดูดซึมน้ำแล้วแพร่ออก ทำให้สีดำของปากกาเมจิบนกระดาษถูกแยกเป็นสีต่างๆ คือ การนำพาสี เรียกว่า โครมาโทกราฟี
👉ประเด็นปัญหา : เพราะอะไรสีดำถึงสามารถละลายน้ำแล้วเกิดเป็นสีต่าง ๆ ขึ้น
👉สมมติฐาน : ถ้าใช้ปากกาเมจิสีดำ แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงจะเกิดอะไรขึ้น
1. เพื่อให้เด็กบอกได้ว่าสีดำเกิดมาจากสีอะไรบ้าง
2. เพื่อเสริมสร้างให้เด็กลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
สามารถแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ และการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3. เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการทดลองทางวิทยาศาสตร์
4. เด็กได้รับความสนุกสนานจากการทดลอง
5. เด็กได้คิดวิเคราะห์ในการทำการทดลอง👉สื่อเเละวัสดุอุปกรณ์ :
1. ปากกาเมจิสีดำยี่ห้อต่าง
2. กระดาษกรอง
3. แก้วน้ำ
4. น้ำ
👉ขั้นตอนการทดลอง :
1. ให้เด็ก ๆ เตรียมกระดาษกรองคนล่ะ 2 แผ่น
2. ให้ตัดกระดาษตรงกลางเป็นรูเล็ก ๆ
แล้วใช้ปากกาเมจิสีดำวาดลวดลายรอบ ๆ รู
3. นำกระดาษกรองแผ่นที่ 2 ม้วนเป็นแท่ง
แล้วสอดเข้าไปตรงกลางของรูกระดาษแผ่นที่ 1
4. นำกระดาษทั้งสองแผ่นลงไปจุ่มในแก้วนำ
ให้กระดาษที่วาดรูปอยู่บนขอบแก้ว ส่วนกระดาษที่ม้วนให้จุ่มลงในน้ำ
5. ให้เด็ก ๆ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของกระดาษกรองที่น้ำซึมผ่านม้วนกระดาษ
6. หลังจากนั้นนำผักผลไม้มาบีบ
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง
👉วิธีการประเมิน :
1. เด็กสามารถทำกิจกรรมที่ครูแนะนำหรือไม่
2. เด็กสามารถอธิบายและตอบคำถามได้
3. เด็กสามารถทำกิจกรรมตามขั้นตอนได้ถูกต้อง
4. สังเกตจากผลงานที่เด็กได้ทดลองทำว่ามีความเข้าใจมากน้อยเพียงใด
และถูกต้องหรือไม่
👉สรุป :
ปากกาเมจิสีดำพอหยดน้ำไปแล้ว
สังเกตเปลี่ยนแปลงจะมีสีต่าง ๆ เกิดขึ้น เพราะว่าสีดำของปากกาเมจิเกิดจากสีต่าง ๆ
รวมกันแล้วเป็นสีดำ
👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉👉
💦 วีดีโอการจัดกิจกรรม ฐาน ติด ดับ จับ ต่อ 💦
⏩สรุปจากการทดลอง : ไฟจากเเหล่งกำเนิดไฟฟ้าไหลผ่านครบวงจร จึงทำให้ไฟติดเเละเป็นตัวนำไฟฟ้า ส่วนวัสดุที่ไม่เป็นตัวนำไฟฟ้า เรียกว่า ฉนวน สามารถป้องกันไฟฟ้ารั่วได้
💦 ภาพการจัดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ 💦
💋Skills (ทักษะ)
ทักษะการฟัง ในเเละการจับใจความ ในเรื่องที่เราจะต้องสรุปหาความรู้ เเละการทำงานร่มกันเป็นกลุ่มเเละการยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนภายในกลุ่ม เพื่อที่จะให้ผลงานออกมาถูกต้อง
😈Apply (การนำมาประยุกต์ใช้)
การวางเเผนการจัดกิจกกรมการทดลองวิทยาศาตร์ เพื่อให้จัดกิจกกรมได้อย่างเป็นขั้นตอนเรียงจาก ง่าย-ยาก เเละจะไม่ทำเกิดปัญหาในการจัดกิจกรรม
👀Technique (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
การเก็บเด็กในระหว่างทำกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เด็กมีสมาธิอยู่กับเรื่องที่จะทำ เพื่อให้เด็กได้รับความรู้ได้อย่างเต็มที่มากที่สุด
👮Assessment (การประเมิน)
👉 Our self (ตัวเอง) : ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม เเละรับผิดชอบหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายงานมาให้มาทำ
👉 Friends (เพื่อน) : เพื่อน ๆ ทุกคน ตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย เเละช่วยกันตอบถามดี
👉 Teacher (อาจารย์) : อาจารย์สอนเข้าใจง่าย อธิบายรายละเอียดได้ดี ทำให้นักศึกษาจับประเด็นได้ง่ายขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น